ทำไมมนุษย์เราถึงกินน้ำทะเลไม่ได้
สัตว์ๆหลายชนิด เช่น ปลา หรือ นกทะเล สามารถกินน้ำทะเลได้ แต่ทำไมมนุษย์ถึงกินน้ำทะเลไม่ได้ แล้วถ้าเกิดต้องไปลอยคออยู่กลางทะเล เราสามารถกินน้ำทะเลเพื่อประทังชีวิตตอนหิวน้ำได้หรือไม่
คำตอบคือ ไม่ได้ แล้วเหตุผลคืออะไร
มาดูส่วนประกอบของน้ำทะเลกันก่อน น้ำทะเล 1 ลิตร จะมีความเค็ม (salinity) 3.5% นั่นแปลว่าจะมี เกลืออยู่ 35 กรัม และเกลือในทะเลจะคือเกลือโซเดียมกับคลอไรด์ (Sodium and Chloride) โดยน้ำทะเลทั่วโลกก็จะมีความเค็มที่ไม่เท่ากัน เช่น ถ้าเป็นที่ทะเลเดดซีที่จอร์แดนความเค็มก็จะมากกว่านี้อีกหลายเท่า ก็เรียกว่ามากคนคนที่ว่ายน้ำไม่เป็นยังลอยตัวได้ครับ
แล้วน้ำในร่างกายเรามี % ของเกลืออยู่เท่าไร เวลาเราพูดถึงน้ำในร่างกายในนี้ผมจะหมายถึงเลือดอะไรนะครับ น้ำในร่างกายเรามีโซเดียมอยู่ในช่วง 135 - 145 mEq/L แปลงหน่วยให้เทียบง่ายๆก็คือราวๆ 0.4% คือเลือด 1 ลิตร จะมีเกลือ 4 กรัม (ต่างจากในน้ำทะเล 35/4 = 8.75 เท่า)
สิ่งที่ทำให้เรากินน้ำทะเลเพื่อประทังชีวิตไม่ได้ ก็เพราะไอความแตกต่าง 8.75 เท่า นั้นเองครับ (อาหารที่เรากินทุกวัน ที่เราแนะนำให้ทานเกลือ ก็คือไม่เกิน 2 กรัมต่อวัน จะได้พอมองเห็นภาพออกนะครับว่า เกลือ 35 กรัมนั้นเยอะขนาดไหน)
ทุกครั้งที่เราทานอาหารที่เค็ม ทำไมเราถึงหิวน้ำบ่อย เพราะว่าไตจะส่งสัญญาณไปให้สมองบอกให้เรากินน้ำ ถามว่าเพื่ออะไร ถ้ามาลองดูกรณีการกินน้ำทะเล เราจะเห็นตัวอย่างคำอธิบายนี้ได้ชัดขึ้น
ความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของเกลือในน้ำทะเลหลังจากที่เราทานเข้าไปในร่างกาย อย่างที่น่าจะทราบกันดีว่า เมื่อเรากินน้ำที่มีโซเดียมเยอะมากๆ (น้ำทะเล) ไตเราจะขับโซเดียมออก แต่เวลาทุกครั้งที่ไตจะขับโซเดียมส่วนเกินออก ไตไม่สามารถขับออกไปเฉยๆได้ เพราะต้องมีน้ำตามออกไปด้วย แล้วน้ำนั้นคืออะไร น้ำ นั้นก็คือปัสสาวะที่ออกมานั่นเองครับ แล้วน้ำที่ออกมาในปัสสาวะมาจากไหน น้ำเหล่านี้ก็มาจากเลือดหรือของเหลวที่อยู่ในเส้นเลือดแดงที่วนไปตามส่วนต่างๆของร่างกายและวนมาที่ไตเพื่อเตรียมขับของเสียออก นั่นแปลว่า ไตต้องขับน้ำออกในปริมาณที่มากกว่าปกติเพื่อจะนำโซเดียมส่วนเกินออกไปด้วย
เราจะเริ่มเห็นปัญหาของการกินน้ำทะเลที่มีปริมาณโซเดียมจำนวนมากแล้ว แต่สิ่งที่ต้องรู้ต่อมาคือ ไตเราสามารถขับเกลือออกไปทางปัสสาวะได้ขนาดไหน
จากที่กล่าวไว้ตอนแรก น้ำทะเลมีความเค็ม 3.5% จะแปลงหน่วยของ osmolarity ได้ 1000 mOsm/l ไตเราขับปัสสาะได้ความเข้มข้นสูงสุดคือ 1200 mOsm/l แต่ใน 1,200 นี้จะเป็น urea ไปแล้ว 600 จึงเหลือพื้นที่ว่างให้โซเดียมอีกประมาณ 600 mOsm/l อย่าพึ่งสับสนนะครับ (ตัดยูเรียออกจากอันนี้ไปเลยก็ได้ครับ)
แปลได้เข้าใจง่ายๆว่า การจะขับเกลือออกจากร่างกาย 600 mOsm ต้องมีน้ำที่ออกไปด้วยประมาณ 1 ลิตรแล้ว ถ้าเรากินน้ำเกลือ 1 ลิตร แปลว่าต้องมีน้ำในร่างกายสำหรับขับฉี่ถึง 1000/600 = 1.6 ลิตร ซึ่งมันไม่มีแน่ๆครับ (ในทางตรงกันข้าม การกินน้ำเปล่าที่ดื่มๆกันนั้นไม่มีเกลืออยู่เลย ไตจึงไม่จำเป็นต้องใช้ความสามารถใดๆในการกรองเกลือออกไปพร้อมกับน้ำ คือถ้าน้ำเกินก็ขับน้ำทิ้งเปล่าๆได้โดยไม่ต้องขับเกลือออก)
จากที่ว่าไว้ ผลลัพธ์ก็คือความเลวร้ายยิ่งกว่าเดิมนั่นเองครับ เนื่องจากเดิมร่างกายที่ขาดน้ำอยู่แล้ว เรากินน้ำทะเลเข้าไปเพิ่ม กลายเป็นว่าไตขับน้ำออกไปจากร่างกายมากกว่าเดิม (ทั้งๆที่ควรจะเก็บน้ำเอาไว้ในร่างกายในสภาพที่ลอยอยู่กลางทะเล) ผลก็คือ ร่างกายเราจะยิ่งอยู่ในสภาวะขาดน้ำ (dehydration) รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ และเรื่อยๆ
นอกจากนี้ปกติในเซลล์ของร่างกายคนเรา ตรงบริเวณผิวเซลล์จะมีเยื่อหุ้นเซลล์ (Cell membrane) ที่มีคุณสมบัติในการอนุญาตให้สารบางอย่างผ่าน ในขณะเดียวกันก็อาจจะไม่อนุญาตให้สารบางอย่างผ่าน (semipermeable) ความแตกต่างขนาดนี้ นั่นแปลว่า ทันทีที่เราดื่มน้ำเกลือเข้าไปในร่างกาย ลองคิดภาพ น้ำเกลือที่อยู่ในเส้นเลือดจะมีปริมาณของโซเดียมที่สูงกว่าในเซลล์ข้างเคียง น้ำจึงถูกเคลื่อนที่ให้ออกจากเซลล์เข้าสู่เส้นเลือด นั่นแปลว่า เซลล์ของร่างกายก็จะเหี่ยวๆๆ (shrink) มากขึ้นไปเรื่อยๆตามปริมาณความแตกต่างของโซเดียมในเลือดกับในเซลล์ อาการทางสมองก็จะตามมาไล่เรี่ยกันไป
สิ่งที่ร่างกายออกแบบไว้ในยามที่น้ำภายในร่างกายเริ่มจะขาด ก็คือ การเพิ่มชีพจรการเต้นของหัวใจ (heart rate) เพื่อคงปริมาณเลือดที่สูบฉีดไปให้ได้ในปริมาณที่เท่าเดิม (พูดง่ายๆในเมื่อของมันมีน้อยก็เลยต้องเพิ่มความถี่ในการส่งเพื่อให้ผลลัพธ์เท่าเดิม) และ หลอดเลือดทั่วร่างกายจะหดตัวลง (vasoconstriction) เพื่อคงสภาพความดันโลหิตของร่างกายในอยู่ในเกณฑ์ปกติ และร่างกายจะปิดการส่งเลือดไปยังอวัยวะที่ไม่สำคัญ
อย่างไรก็ตาม ความสามารถในการชดเชยของร่างกายมีจำกัด ถ้ายังน้ำจืดมาทานไม่ได้ เมื่อถึงเวลาสุดท้าย เราก็จะตายนั่นเองครับ เพราะระบบการชดเชยไม่สามารถรับได้อีก
สรุปสั้นๆ สำหรับการกินน้ำทะเลเพื่อประทังชีวิตแล้ว ก็คือ เราน่าจะตายเร็วขึ้นกว่าเดิมครับ 555+ อย่าหาทำ เราจะกินน้ำทะเลได้ในปริมาณเพียงเล็กน้อยแบบอารมณ์ไปดำน้ำในทะเลดูปลาแล้วเผลอสำลักน้ำเข้าไป แต่นั่นไม่ใช่ปัญหามากเพราะพอเราขึ้นเรือเราก็เอาน้ำเปล่าที่ไม่เกลือเข้าไปชดเชยนั่นเอง
ถามว่า น้ำทะเลก็กินไม่ได้ แล้ว ปัสสาวะ (ฉี่) ตัวเองกินได้หรือเปล่า คำตอบก็คงเหมือนกันครับ ฉี่ถือว่าเป็นของเสียในร่างกายที่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ ยิ่งกินก็ยิ่งหิวน้ำทั้งๆที่หาน้ำเพิ่มเติมไม่ได้ ก็จะกลายวัฎจักรแห่งความน่าสงสารไปโดยปริยาย เพราะฉี่ที่ไตขับออกมาก็คือโซเดียมที่เราพยายามขับออก ถ้ากินก็เหมือนเติมมันกลับเข้าไปอีกครั้ง
เลยเป็นที่มาว่า ในแพชูชีพที่อยู่ในเรือช่วยชีวิต จะมีน้ำเปล่าแพคอยู่ในซองด้วยครับ มีให้คนละ 1.5 ลิตร ใช้สำหรับ 3 วัน ไว้ให้กินวันละ 500 ซีซี เพื่อหวังว่าภายใน 72 ชั่วโมงหลังเรือล่ม คนที่มาช่วยชีวิตเราจากฝั่งน่าจะมาถึงที่เกิดเหตุและเราควรจะได้รับการช่วยเหลือแล้วนั่นเอง แต่ถ้ารอดจนโดนคลื่นพลัดไปติดเกาะได้ก็คงต้องทำแบบลุง Tom Hanks ใน Castaway ครับ คือ ไปหาแหล่งน้ำจืดธรรมชาติบนเกาะ หรือน้ำในต้นไม้นั่นเองครับ
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過6萬的網紅Herman Yeung,也在其Youtube影片中提到,Note download 筆記下載 : https://hermanutube.blogspot.hk/2016/01/youtube-pdf.html -----------------------------------------------------------------------...
cell membrane 在 Facebook 的精選貼文
【藥事知多D】一物兩用:Bismuth Subsalicylate
同一種藥同時往往可以有不同的用途。
看,單是一粒亞士匹靈(Aspirin),不同的劑量便已經有不同的用途。
不過就算是同一種藥、同一種作用原理,還是可以有兩種用途。
例如Bismuth Subsalicylate。
那到底是哪兩種用途呢?
唔……首先給大家兩個提示:
第一,Bismuth Subsalicylate在酸性的環境下(胃液)便可能會進化成為Bismuth Oxychloride,然後黏附在胃壁上形成一層薄膜,如同「烏蠅紙」一樣吸附胃黏膜主細胞(Gastric Chief Cell)所分泌的胃蛋白酶(Pepsin),抑制胃蛋白酶的活性。
第二,Bismuth Subsalicylate還有一種與眾不同的特性,便是可能會干擾幽門螺旋桿菌(Helicobacter pylori, H. pylori)的細胞壁、蛋白質、三磷酸腺苷(Adenosine Triphosphate, ATP)合成,癱瘓幽門螺旋桿菌的新陳代謝,同時干擾細胞膜(Cell Membrane)的滲透功能,誘發幽門螺旋桿菌的體內出現滲漏,殺滅幽門螺旋桿菌。[1]
所以Bismuth Subsalicylate有資格成為四合一療法(Quadruple Therapy)的其中一員,適用於治療對幽門螺旋桿菌呈陽性的腸胃潰瘍(H. pylori-positive Ulcers)。[2]
對,Bismuth Subsalicylate的第一個用途便是胃藥。
至於要是大腸,場景不同,角色便會不同,劇情便會不同……
既然Bismuth Subsalicylate這張「烏蠅紙」可能會吸附胃蛋白酶,自然便可能會吸附其他東西,在相當程度上,Bismuth Subsalicylate算是一種吸附劑(Adsorbents),直達大腸後,便可能會吸附腸道內的刺激物、致病原、毒素,然後透過大便一同排出體外,從而可能會排除這些病源,達到止瀉的效果。
除此之外,既然Bismuth Subsalicylate可能會殺滅幽門螺旋桿菌,自然還可能會殺滅腸道內的細菌,同樣可能會排除這些病源,達到止瀉的效果。
對,Bismuth Subsalicylate的第二個用途便是止瀉藥。
還有一般相信Bismuth Subsalicylate還可能會增加水分、電解質的吸收,減少腸腔內的水分,所以還是一種抗分泌劑(Antisecretory Agents),讓水狀的大便呈固體狀,從而能夠紓緩腹瀉。
據說Bismuth Subsalicylate還可能會在腸道裡進行水解(Hydrolysis)產生水楊酸(Salicylic Acid),從而可能會抑制其中一種前列腺素(Prostaglandin, PG)的產生,紓緩腸道炎症,減慢腸道蠕動,達到止瀉的效果。
其中Bismuth Subsalicylate較常用於預防、治療旅行者腹瀉(Traveler's Diarrhea, TD),俗稱「水土不服」。[3]
所以Bismuth Subsalicylate既是胃藥,又是止瀉藥,一言以蔽之,便是腸胃藥。
(如欲了解更多用藥資訊,歡迎看看「小小藥罐子」網誌。)
💊💊💊💊💊💊💊
BLOG➡️http://pegashadraymak.blogspot.com/
IG➡️https://www.instagram.com/pegashadraymak/
YT➡️https://www.youtube.com/channel/UCQOMojMd6q7XnESMWwldPhQ
📕📕📕📕📕📕📕
著作➡️藥事知多D、用藥知多D、藥房事件簿、家居用藥攻略(各大書店有售)
Reference:
1. Lambert JR, Midolo P. The actions of bismuth in the treatment of Helicobacter pylori infection. Aliment Pharmacol Ther. 1997;11(Suppl 1):27-33.
2. Malfertheiner P, Bazzoli F, Delchier JC, et al. Helicobacter pylori eradication with a capsule containing bismuth subcitrate potassium, metronidazole, and tetracycline given with omeprazole versus clarithromycin-based triple therapy: a randomised, open-label, non-inferiority, phase 3 trial. Lancet. 2011;377:905.
3. Steffen R, DuPont HL, Heusser R, et al. Prevention of travelers’ diarrhea by the tablet form of bismuth subsalicylate. Antimicrob Agents Chemother. 1986;29:625-7.
cell membrane 在 Facebook 的精選貼文
【藥事知多D】胃藥知多D:Bismuth Subsalicylate
根據藥理,常用的胃藥主要可以分為抗酸劑(Antacid)例如鹼鹽和制酸劑例如H2受體拮抗劑(H2 Antagonist)、質子泵抑制劑(Proton Pump Inhibitor, PPI)兩類。
不論是抗酸劑還是制酸劑,最終的目的還是減少胃酸,主要用來治療、預防一些胃病,例如胃痛、胃灼熱、胃潰瘍、胃液倒流。
那市面上又有沒有一些胃藥,既不抗酸又不制酸,既不中和胃酸又不抑制胃酸呢?
哈哈……各位聰明的看倌一定會知道答案當然是「有」,不然這篇文章怎麼能夠繼續寫下去?
對,答案是有的。
這種非典型胃藥便是Bismuth Subsalicylate。
誠如上文所述,在藥理上,Bismuth Subsalicylate既不是抗酸劑,又不是制酸劑,不過偏偏就是一種胃藥。
跟抗酸劑、制酸劑不同,Bismuth Subsalicylate主要有以下四個作用原理:
第一,Bismuth Subsalicylate在酸性的環境下(胃液)便可能會進化成為Bismuth Oxychloride,然後黏附在胃壁上形成一層薄膜,如同「烏蠅紙」一樣吸附胃黏膜主細胞(Gastric Chief Cell)所分泌的胃蛋白酶(Pepsin),抑制胃蛋白酶的活性。
胃蛋白酶主要負責消化胃裡的蛋白質,固然能夠消化食物裡的蛋白質,更加能夠消化胃壁細胞(Parietal Cells)裡的蛋白質,所以抑制胃蛋白酶的活性,在相當程度上,便可能會減少胃液對胃部的刺激。
第二,Bismuth Subsalicylate可能會黏附在胃潰瘍的傷口上形成一種物理性屏障,如同敷料一樣減少傷口繼續受到胃液的刺激,促進傷口癒合。[1][2]
第三,Bismuth Subsalicylate可能會促進前列腺素(Prostaglandin, PG)的產生,增加胃壁黏液分泌,如同加厚城牆一樣鞏固胃壁黏膜抗衡胃酸。
第四,Bismuth Subsalicylate可能會促進胃壁黏膜分泌重碳酸鹽(Bicarbonate, HCO3-)這種鹼鹽,中和胃酸,從而加強胃壁的自我保護功能。
跟其他胃藥不同,Bismuth Subsalicylate還有一種與眾不同的特性,便是可能會干擾幽門螺旋桿菌(Helicobacter pylori, H. pylori)的細胞壁、蛋白質、三磷酸腺苷(Adenosine Triphosphate, ATP)合成,癱瘓幽門螺旋桿菌的新陳代謝,同時干擾細胞膜(Cell Membrane)的滲透功能,誘發幽門螺旋桿菌的體內出現滲漏,殺滅幽門螺旋桿菌。[3]
所以Bismuth Subsalicylate有資格成為四合一療法(Quadruple Therapy)的其中一員,適用於治療對幽門螺旋桿菌呈陽性的腸胃潰瘍(H. pylori-positive Ulcers)。[4]
在副作用上,因為這種胃藥一般採取「無差別」的吸附模式,所以其他藥物同樣可能會被吸附在這張「烏蠅紙」上,便可能會減少藥物的吸收,從而削弱藥效。
所以要是需要服用其他藥物,一般建議至少相隔兩小時服用,盡量減低兩者同時在胃部相遇的機會,避免出現藥物相沖的機會。
除此之外,Bismuth Subsalicylate還可能會在消化道裡跟細菌體內的硫化氫(Hydrogen Sulfide, H2S)產生化學反應轉化成為硫化鉍(Bismuth Sulfide, Bi2S3),因為硫化鉍是黑色,所以可能會弄污舌頭、染黑大便。
還有因為Bismuth Subsalicylate含有鉍(Bismuth)、水楊酸(Salicylic Acid)這兩種成分,所以還可能會出現兩者所帶來的副作用:
一、鉍
因為鉍主要透過腎臟排出體外,所以要是腎功能不佳,這些重金屬離子便可能會不斷積聚在人體裡面,日積月累,便可能會超標構成毒性,損害神經系統,所以未必適用於對一些腎衰竭(Renal Failure)人士服用。
二、水楊酸
因為Bismuth Subsalicylate可以產生水楊酸,所以不適用於對亞士匹靈(Aspirin)產生過敏的人士服用,同時避免超出建議劑量,減低出現水楊酸中毒的風險。
(如欲了解更多用藥資訊,歡迎看看「小小藥罐子」網誌。)
💊💊💊💊💊💊💊
BLOG➡️http://pegashadraymak.blogspot.com/
IG➡️https://www.instagram.com/pegashadraymak/
YT➡️https://www.youtube.com/channel/UCQOMojMd6q7XnESMWwldPhQ
📕📕📕📕📕📕📕
著作➡️藥事知多D、用藥知多D、藥房事件簿、家居用藥攻略(各大書店有售)
Reference:
1. Lambert JR, Way DJ, King RG, Eaves ER, Hansky J. Bismuth pharmacokinetics in the human gastric mucosa. Gastroenterology. 1988;94: A248.
2. Koo J, Ho J, Lam SK, Wong J, Ong GB. Selective coating of gastric ulcer by tripotassium dicitrato-bismuthate in the rat. Gastroenterology. 1982;82:864-70.
3. Lambert JR, Midolo P. The actions of bismuth in the treatment of Helicobacter pylori infection. Aliment Pharmacol Ther. 1997;11(Suppl 1):27-33.
4. Malfertheiner P, Bazzoli F, Delchier JC, et al. Helicobacter pylori eradication with a capsule containing bismuth subcitrate potassium, metronidazole, and tetracycline given with omeprazole versus clarithromycin-based triple therapy: a randomised, open-label, non-inferiority, phase 3 trial. Lancet. 2011;377:905.
cell membrane 在 Herman Yeung Youtube 的最佳解答
Note download 筆記下載 : https://hermanutube.blogspot.hk/2016/01/youtube-pdf.html
------------------------------------------------------------------------------
Biology 所有 videos 的 Playlist 可看:
https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oSnhUSkuaWV9d7FbyJDSPE
分類的 Playlist 可看:
1. Cells and Molecules of Life 細胞與生命分子… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8pimOHKxXgEB4A7BkIU_fvE
2. Genetics and Evolution遺傳與進化… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qxXqviCcE59G2o2S-SZmLz
3A. Essential life processes in plants植物維持生命的活動… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oaLqXiViAOyF-wt_wxD62w
3B. Essential life processes in animals動物維持生命的活動… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8petIdjLSGd9BbyfUcDdHim
3C. Reproduction, growth and development生殖、生長和發育... https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8ramUz1FlN0c8vG47a8qChA
3D. Coordination and response協調和反應… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8o6aa0bT1nTs5QbaBpJ69W7
3E. Homeostasis體內平衡… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qIF_r_7bLzL_gbkzL3NRiZ
3F. Ecosystems 生態系… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qHQPt5HmieWo0EjPGnmD81
4. Health and Disease健康與疾病… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oWMLSCZvYm_HxnOCnw0ePt
5. Human Physiology: Regulation and Control人體生理學︰調節與控制… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8r0Af7WKwjPf5Ih3hk4rRpw
6. Applied Ecology應用生物學… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8rbkiK9KEPGav6_z6otcqA7
7. Microorganisms and Humans微生物與人類… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8pA3IcS8sxv5JgWHZ0Ifvrk
8. Biotechnology生物工程… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oNgT2rFFmtFP_PBDbCqn0N
Notes Only Version : https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8osiwrVWzQRQ9wWCLgZUYS5
Definition 背誦︰
中英對照︰ https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8pgi_VnjcUHByKdnDfPKfDh
純英版︰ https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qhbqCN5tsVn2DeUqYFzYPV
純中版︰ https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8rAJGqx6SNLcG1WQGTFocOL
HKDSE Biology Past Paper Solution :
https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8q0icgpscQYKrWcaywLK7g2
HKCEE Biology Past Paper Solution :
https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oE7NKu3W5odiwwws6WerB0
HKALE Biology Past Paper Solution :
https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qDsX40O4tczDYBPktC06fq
------------------------------------------------------------------------------
Please subscribe 請訂閱 :
https://www.youtube.com/hermanyeung?sub_confirmation=1
------------------------------------------------------------------------------
HKDSE Mathematics 數學天書 訂購表格及方法︰
https://www.sites.google.com/view/HermanYeung
------------------------------------------------------------------------------
Blogger : https://goo.gl/SBmVOO
Facebook : https://www.facebook.com/hy.page
YouTube: https://www.youtube.com/HermanYeung
------------------------------------------------------------------------------
cell membrane 在 拉哥 Lai UP Youtube 的最佳解答
美容院通淋巴其實係流既, 唔好再俾人呃喇, 傻豬~
淋巴係免疫系統黎架 ^v^
Reference:
http://hk.apple.nextmedia.com/news/art/20080525/11150780
http://hd.stheadline.com/living/living_content.asp?contid=135773&srctype=g
http://en.wikipedia.org/wiki/Lymphatic_system
拉的自我介紹
你好啊!我叫拉,是香港人啊!我是個在香港土生土長的男生,接受香港教育和香港文化。我想向喜歡香港旅遊的朋友介紹不同的香港文化。
由於我超喜歡旅行!最近我開始為香港拍攝旅遊短片。希望你能更了解香港的美啊!
訂閱Lai UP ▶ http://bit.ly/laisubscribe
Lai's Self Introduction:
Hello! I'm Lai from Hong Kong. I'm just a normal Hong Kong boy being raised in Hong Kong, having local Hong Kong education and Hong Kong culture. Lai in Hong Kong would like to introduce different culture from Hong Kong to Hong Kong lovers.
Since I like travelling so much, recently I started making travelling videos for the sake of Hong Kong. Hope that you can know more about the beauty of Hong Kong.
Related videos:
【醫院故事18+】插尿管時伯伯的小鳥竟然變大鳥!? -《拉姑娘醫院日常》
https://youtu.be/vAS7Vy3H2uY
在香港醫院職員餐廳吃甚麼?私家醫院竟然比公立醫院更難吃?!-《拉姑娘醫院日常》
https://youtu.be/1tgO_hYCNRk
為甚麼讀Nursing? -《HKU拉》
https://youtu.be/VilvDpk3JYc
Lai Facebook: http://facebook.com/jackylaiyc
Lai Instagram: http://instagram.com/jackylaiyc
Telegram 吹水 Group: https://t.me/laiup
Telegram 收風 Channel: https://t.me/laichannel
合作查詢: jackylaiyc@gmail.com
cell membrane 在 拉哥 Lai UP Youtube 的最佳解答
食同搽骨膠原對皮膚唔一定有益, 唔好再俾人呃喇
皮膚既蛋白質一定要身體造架!!!
Reference:
http://www.prevention.com/beauty/beauty/collagen-drinks-do-they-actually-help-skin
http://youtu.be/LKN5sq5dtW4
http://youtu.be/qBRFIMcxZNM
http://youtu.be/NmcLCpXVTrY
http://youtu.be/svAAiKsJa-Y
拉的自我介紹
你好啊!我叫拉,是香港人啊!我是個在香港土生土長的男生,接受香港教育和香港文化。我想向喜歡香港旅遊的朋友介紹不同的香港文化。
由於我超喜歡旅行!最近我開始為香港拍攝旅遊短片。希望你能更了解香港的美啊!
訂閱Lai UP ▶ http://bit.ly/laisubscribe
Lai's Self Introduction:
Hello! I'm Lai from Hong Kong. I'm just a normal Hong Kong boy being raised in Hong Kong, having local Hong Kong education and Hong Kong culture. Lai in Hong Kong would like to introduce different culture from Hong Kong to Hong Kong lovers.
Since I like travelling so much, recently I started making travelling videos for the sake of Hong Kong. Hope that you can know more about the beauty of Hong Kong.
Related videos:
【醫院故事18+】插尿管時伯伯的小鳥竟然變大鳥!? -《拉姑娘醫院日常》
https://youtu.be/vAS7Vy3H2uY
在香港醫院職員餐廳吃甚麼?私家醫院竟然比公立醫院更難吃?!-《拉姑娘醫院日常》
https://youtu.be/1tgO_hYCNRk
為甚麼讀Nursing? -《HKU拉》
https://youtu.be/VilvDpk3JYc
Lai Facebook: http://facebook.com/jackylaiyc
Lai Instagram: http://instagram.com/jackylaiyc
Telegram 吹水 Group: https://t.me/laiup
Telegram 收風 Channel: https://t.me/laichannel
合作查詢: jackylaiyc@gmail.com
cell membrane 在 cell membrane | Definition, Function, & Structure | Britannica 的相關結果
Cell membrane, thin membrane that surrounds every living cell. The cell membrane functions as a barrier, keeping cell constituents in and unwanted ... ... <看更多>
cell membrane 在 Cellular Membranes, a Versatile Adaptive Composite Material 的相關結果
For biological membranes, the main components of this composite material are the plasma membrane (PM) that encapsulates the cell, the cell ... ... <看更多>
cell membrane 在 Cell membrane - Wikipedia 的相關結果
The cell membrane is a biological membrane that separates the interior of all cells from the outside environment (the extracellular space) which protects ... ... <看更多>